ความแตกต่าง
นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น
Both sides previous revision Previous revision | |||
report [2021/07/02 19:15] admin [การตรวจนับและตีราคาสินค้าคงเหลือ] |
report [2022/01/14 12:11] (ฉบับปัจจุบัน) admin |
||
---|---|---|---|
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
====== การส่งข้อมูลทางการบัญชี ====== | ====== การส่งข้อมูลทางการบัญชี ====== | ||
- | เมื่อสิ้นสุดการแข่งขันโปรแกรมจะให้ทุกบริษัทส่งข้อมูลทางการบัญชีภายในระยะเวลาที่กรรมการกำหนด เช่น ภายใน 7 วัน หลังสิ้นสุดเกม โดยโปรแกรมจะแสดงปุ่ม "ส่งข้อมูลบัญชีภายใน ../../.." เมื่อบริษัทต้องการส่งข้อมูลบัญชีให้กดปุ่มดังกล่าวตามรูปภาพดังนี้ | + | เมื่อสิ้นสุดการแข่งขันโปรแกรมจะให้ทุกบริษัทส่งข้อมูลทางการบัญชีภายในระยะเวลาที่กรรมการกำหนด เช่น ภายใน 7 วัน หลังสิ้นสุดเกม โดยโปรแกรมจะแสดงปุ่ม "ส่งงบทดลองและสินค้าคงเหลือภายในวันที่ ../../.." เมื่อบริษัทต้องการส่งข้อมูลบัญชีให้กดปุ่มดังกล่าวตามรูปภาพดังนี้ |
- | {{ :tb_01.jpg?nolink |}} | + | {{ ::1.png?nolink |}} |
- | เมื่อเข้าสู่หน้าจอส่งข้อมูลบัญชี โปรแกรมจะแสดงปุ่มส่งข้อมูล และ รายละเอียดการให้คะแนน ถ้าโปรแกรมแสดงปุ่มนี้อยู่แสดงว่าบริษัทสามารถส่งข้อมูลได้ แต่หากไม่ปรากฎปุ่มส่งข้อมูลบัญชีแสดงว่าได้ส่งข้อมูลแล้ว หรือ หมดเวลาการนำส่งข้อมูลแล้ว เมื่อบริษัทต้องการส่งให้กดปุ่ม "ส่งข้อมูลบัญชีภายใน ../../.." ตามรูปดังนี้ | + | <fc #ff0000>ในการส่งงบทดลองและการตรวจนับและตีราคาสินค้่าคงเหลือ บริษัทสามารถส่งรายงานได้ตลอดเวลาระหว่างการเล่นเกม แต่ระบบจะทำการปิดการนำส่ง เมื่อครบกำหนดเวลาตามที่กรรมการได้ตั้งไว้ |
- | {{ :tb_02.jpg?nolink |}} | + | </fc> |
- | โปรแกรมจะแสดงหน้าจอการส่งข้อมูลโดยแบ่งเป็นส่วนต่างๆ ดังนี้ | + | เมื่อเข้าสู่หน้าจอส่งข้อมูลบัญชี โปรแกรมจะกำหนดวันที่รายงาน เช่น 30/06/2022 ให้แต่ละบริษัทจัดทำบัญชีและประมวลผล เช่น ค่าเสื่อมราคาจนถึงวันที่ดังกล่าว |
- | * งบทดลอง <fc #6495ed>เพื่อบันทึกข้อมูลยอดคงเหลือในแต่ละบัญชี โดยบริษัทต้องคำนวณสินค้าคงเหลือ และ ภาษีนิติบุคคลมาใส่ข้อมูลในส่วนนี้ด้วย</fc> | + | |
- | * ตรวจนับและตีราคาสินค้า <fc #6495ed>เพื่อบันทึกข้อมูลการตรวจนับและตีราคาสินค้าตามวิธีเข้าก่อน-ออกก่อน</fc> | + | ในการนำส่งรายงาน โปรแกรมจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วนได้แก่ |
- | * ภาษีเงินได้นิติบุคคล <fc #6495ed>เพื่อบันทึกข้อมูลภาษีเงินได้นิติบุคคลตามอัตราที่กรรมการกำหนด</fc> | + | - งบทดลอง <fc #6495ed>เพื่อบันทึกข้อมูลยอดคงเหลือในแต่ละบัญชี โดยบริษัทต้องคำนวณสินค้าคงเหลือ และ ภาษีนิติบุคคลมาใส่ข้อมูลในส่วนนี้ด้วย</fc> |
- | * บันทึกข้อมูล <fc #6495ed>เมื่อบริษัทต้องการยืนยันการส่งข้อมูลให้ทำการบันทึกในส่วนนี้ โดยเมื่อบันทักแล้วโปรแกรมจะคำนวณคะแนนให้ และ บริษัทไม่สามารถแก้ไขข้อมูลใดๆ ได้อีก</fc> | + | - ตรวจนับและตีราคาสินค้า <fc #6495ed>เพื่อบันทึกข้อมูลการตรวจนับและตีราคาสินค้าตามวิธีเข้าก่อน-ออกก่อน</fc> |
+ | - บันทึกข้อมูลทั้งหมด <fc #6495ed>เพื่อบันทึกข้อมูลตามงบทดลองและการตรวจนับและตีราคาสินค้าตามวิธีเข้าก่อน-ออกก่อน</fc> | ||
+ | |||
+ | {{ :2.png?nolink |}} | ||
+ | |||
+ | ===== การรายงานงบทดลองก่อนปิดบัญชี ===== | ||
+ | การรายงานงบทดลองก่อนปิดบัญชี ให้แต่ละบริษัทกรอกตัวเลขยอดคงเหลือก่อนปิดบัญชีในด้านเดบิตหรือเครดิตตามยอดคงเหลือที่มีอยู่ในสมุดบัญชีแยกประเภท โดยแต่ละบริษัทควรดำเนินการประมวลผลข้อมูลเพิ่มเติมดังนี้ | ||
+ | * การประมวลผลค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ถาวร | ||
+ | * การประมวลผลการคำนวณการตรวจนับและตีราคาสินค้าคงเหลือ | ||
+ | * การประมวลผลการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล | ||
+ | |||
+ | ตัวอย่างของการกรอกข้อมูลแสดงดังรูปภาพดังนี้ | ||
+ | |||
+ | {{ :3.png?nolink |}} | ||
- | {{ :tb_03.jpg?nolink |}} | ||
===== การตรวจนับและตีราคาสินค้าคงเหลือ ===== | ===== การตรวจนับและตีราคาสินค้าคงเหลือ ===== | ||
- | การตรวจนับและตีราคาของสินค้าคงเหลือทำได้ 2 ลักษณะขึ้นอยู่กับวิธีการบันทึกบัญชีและควบคุมสินค้าคงเหลือของแต่ละบริษัท ได้แก่ | + | - บริษัทต้องทำการตรวจนับและตีราคาสินค้าคงเหลือด้วยวิธีเข้าก่อนออกก่อน (First-in First-Out: FIFO.) |
- | * วิธี Periodic ซึ่งทำการบันทึกบัญชีซื้อ ค่าขนส่ง และส่วนลดรับ แยกอย่างชัดเจน ดังนั้น เมื่อคำนวณต้นทุนขายและตีราคาสินค้าคงเหลือ จึงต้องทำการนำค่าขนส่งและส่วนลดรับปรับปรุงให้ถูกต้อง โดยบริษัทอาจนำสัดส่วนระหว่างมูลค่าสินค้าที่ซื้อมา และ มูลค่าสินค้าคงเหลือ มาใช้ในการปรับปรุงก็ได้ แต่คำตอบที่ได้อาจจะไม่ตรงกับเฉลยของโปรแกรม | + | - ทำการคำนวณมูลค่าของสินค้าคงเหลือสำหรับสินค้าแต่ละชนิด โดยนำ มูลค่าราคาทุน + ค่าขนส่งเข้า - ส่วนลดรับ - ส่วนลดการค้า (กรณีใช้วิธีบันทึกบัญชีแบบ Gross) |
- | * วิธี Perpetual ซึ่งทำการบันทึกการซื้อ จ่ายค่าขนส่ง และได้รับส่วนลดรับ ในบัญชีสินค้าคงเหลือ ดังนั้น จึงจำเป็นต้องทำบัตรควบคุมสินค้า โดยนำมูลค่าค่าขนส่งและส่วนลดรับปรับปรุงมูลค่าสินค้าที่รับเข้าทุกครั้ง วิธีนี้เป็นวิธีที่โปรแกรม ACCTWORK ใช้ในการคำนวณต้นทุนขายและสินค้าคงเหลือปลายงวด | + | - นำข้อมูลจำนวนคงเหลือ และ จำนวนเงินของมูลค่าสินค้าคงเหลือมากรอกในระบบ |
- | <fc #ff0000>กรณีที่บริษัทเลือกใช้วิธี Periodic ในการคำนวณต้นทุนขายและตีราคาสินค้าคงเหลือปลายงวด คำตอบที่ได้อาจจะไม่เท่ากับวิธี Perpetual แต่ตัวเลขที่ได้จะมีความใกล้เคียงใกล้ </fc> | + | |
- | {{:2021-07-02_19-14-52.jpg??nolink|}} | + | |
- | ===== ภาษีเงินได้นิติบุคคล ===== | + | |
- | {{ :tb_05.jpg?nolink |}} | + | |
- | {{ :tb_06.jpg?nolink |}} | + | |
- | ===== การส่งงบทดลอง ===== | + | |
- | {{ :tb_07.jpg?nolink |}} | + | |
- | ===== ตัวอย่างการส่งข้อมูลตรวจนับและตีราคาสินค้าคงเหลือ ===== | + | ตัวอย่างการกรอกข้อมูลตามรูปภาพดังนี้ |
- | {{ :tb_08.jpg?nolink |}} | + | |
- | ===== ตัวอย่างการบันทึกข้อทูลภาษีเงินได้นิติบุคคล ===== | + | {{ :4.png?nolink |}} |
- | {{ :tb_09.jpg?nolink |}} | + | |
- | ===== ตัวอย่างการบันทึกข้อมูลบัญชี ===== | + | ===== บันทึกข้อมูลทั้งหมด ===== |
- | {{ :tb_10.jpg?nolink |}} | + | เมื่อบริษัทกรอกข้อมูลทั้งงบทดลองและการตรวจนับและตีราคาสินค้าเรียบร้อยแล้ว ให้ทำการกดปุ่มยื่นยันการนำส่งแล้วทำการบันทึกรายการ |
- | {{ :tb_11.jpg?nolink |}} | + | |
- | ===== ข้อมูลตัวอย่างหลังจากส่งข้อมูลบัญชี ===== | + | {{ :5.png?nolink |}} |
- | {{ :tb_12.jpg?nolink |}} | ||
- | {{ :tb_13.jpg?nolink |}} |